งานส่งเสริมนวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนรู้
หน่วยสนับสนุนการศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ชาญฉลาด (Smart Learning Space)
เป้าประสงค์ : พัฒนาสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ชาญฉลาด มีความพร้อมในด้านการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศที่ทันสมัยได้มาตรฐานโดยสอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และพันธกิจของมหาวิทยาลัยและตรงตามความต้องการของผู้ใช้บริการสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ในรูปแบบพลิกโฉมสำหรับวิถีใหม่ในยุคดิจิทัล
กลยุทธ์ 1.2 พัฒนาสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศให้เป็นแหล่งสนับสนุนในการส่งเสริมการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน และการบริการการศึกษา (Virtual and Hybrid Classroom) มีกลวิธี(Tactic)นำไปสู่การปฏิบัติ
กลยุทธ์ 1.2 2 พัฒนาสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศให้เป็นแหล่งสนับสนุนในการส่งเสริมการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน และการบริการการศึกษา (Virtual and Hybrid Classroom) มีกลวิธี(Tactic)นำไปสู่การปฏิบัติ
- จัดฝ่ายสนับสนุนในการผลิต สื่อการเรียนการสอน หน่วยผลิตสื่อเทคโนโลยีการสอนการพัฒนาระบบ E-Learning ของมหาวิทยาลัย โดยความร่วมมือของคณะวิชา และหลักสูตร
- ส่งเสริมและ สนับสนุนอาจารย์ในการผลิตสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ebook, Courseware ,MOOC,WBI สำหรับการเรียนการสอนออนไลน์ ทั้งในระบบเปิดและระบบปิดโดยความร่วมมือของคณะวิชาและหลักสูตร
กลยุทธ์ 1.4 พัฒนาและจัดหาทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ในทุกรูปแบบโดยบูรณาการศาสตร์ ให้มีความสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ รวมถึงสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบดิจิทัลของมหาวิทยาลัยที่เปลี่ยนไป โดยเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาอย่างมีคุณภาพ (Learning Support Center)
บุคลากรประจำหน่วย/ผู้ดูแล/ผู้ประสานงาน
- นายทัศนัย อ้ายพุก นักวิชาการคอมพิวเตอร์
- นายทศพร ดีเทศน์ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
- นายนพปฏล สอนอินทร์ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
- นายอำนาจ ฟักงาม ผู้ปฏิบัติงานโสตทัศนศึกษา
การให้บริการ (รายละเอียดการให้บริการตามพันธกิจต่างๆ)
- การให้บริการห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom)
- ควบคุมห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) ประกอบด้วยอาคาร GE และ อาคาร ICITรวมทั้งดูแลและตรวจสอบความเรียบร้อยของวัสดุและครุภัณฑ์ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer) โน็ตบุค (Notebook) แท็ปเล็ต (Tablet) สมาร์ทโฟน (Smart phone) สมาร์ทบอร์ด (Smart board) เครื่องฉายโปรเจ็คเตอร์ (Projector) เป็นต้น เพื่ออำนวยความสะดวกสำหรับอาจารย์ผู้สอน
- การจัดระบบนำรายวิชาที่เป็น Hybrid Learning เข้าสู่ Platform ที่นักศึกษา Re-Learn
อาคาร
การให้บริการห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) ณ อาคาร 10 ชั้น 2 และชั้น 3 จำนวน 13 ห้อง โดยให้บริการสำหรับนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาศึกษาทั่วไป
หน่วยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ชาญฉลาด (Smart Learning Space)
เป้าประสงค์ : พัฒนาสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ชาญฉลาด มีความพร้อมในด้านการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศที่ทันสมัยได้มาตรฐานโดยสอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และพันธกิจของมหาวิทยาลัยและตรงตามความต้องการของผู้ใช้บริการสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ในรูปแบบพลิกโฉมสำหรับวิถีใหม่ในยุคดิจิทัล
กลยุทธ์ 1.2 พัฒนาสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศให้เป็นแหล่งสนับสนุนในการส่งเสริมการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน และการบริการการศึกษา (Virtual and Hybrid Classroom) มีกลวิธี(Tactic)นำไปสู่การปฏิบัติ
กลยุทธ์ 1.2 2 พัฒนาสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศให้เป็นแหล่งสนับสนุนในการส่งเสริมการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน และการบริการการศึกษา (Virtual and Hybrid Classroom) มีกลวิธี(Tactic)นำไปสู่การปฏิบัติ
- จัดฝ่ายสนับสนุนในการผลิต สื่อการเรียนการสอน หน่วยผลิตสื่อเทคโนโลยีการสอนการพัฒนาระบบ E-Learning ของมหาวิทยาลัย โดยความร่วมมือของคณะวิชา และหลักสูตร และหลักสูตร
- ส่งเสริมและ สนับสนุนอาจารย์ในการผลิตสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ebook, Courseware ,MOOC,WBI สำหรับการเรียนการสอนออนไลน์ ทั้งในระบบเปิดและระบบปิดโดยความร่วมมือของคณะวิชาและหลักสูตร
บุคลากรประจำหน่วย/ผู้ดูแล/ผู้ประสานงาน
- นางสาวนภา มิ่งนัน นักเอกสารสนเทศ
- นายทศพร ดีเทศน์ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
- นายนพปฏล สอนอินทร์ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
การผลิตสื่อการเรียนการสอนรายวิชาออนไลน์
- ประสานงานกับศูนย์ส่งเสริมบัณฑิตศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต เกี่ยวกับโครงสร้างรายวิชาที่นำผลิตรายวิชาออนไลน์บนระบบ URU MOOC / Thai MOOC
- ประสานงานกับผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอนเกี่ยวกับการเตรียมเนื้อหา รูปแบบสื่อที่ใช้ถ่ายทอดเนื้อหา จัดเตรียมทำสไลด์ประกอบรายวิชา
- ถ่ายทำวิดีโอเนื้อหาการเรียนรู้ตามตารางนัดหมายกับผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
- ตัดต่อวิดีโอและตรวจสอบคุณภาพวิดีโอ
- นำวิดีโอที่เสร็จสมบูรณ์ขึ้นระบบ YouTube จากนั้นส่ง link ในระบบ YouTube ให้ทาง ศูนย์ส่งเสริมบัณฑิตศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต นำเผยแพร่ใน HTTPS://LIFELONG.URU.AC.TH/
หน่วยนวัตกรรมการศึกษาและสื่อออนไลน์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ชาญฉลาด (Smart Learning Space)
เป้าประสงค์ : พัฒนาสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ชาญฉลาด มีความพร้อมในด้านการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศที่ทันสมัยได้มาตรฐานโดยสอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และพันธกิจของมหาวิทยาลัยและตรงตามความต้องการของผู้ใช้บริการสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ในรูปแบบพลิกโฉมสำหรับวิถีใหม่ในยุคดิจิทัล
บุคลากรประจำหน่วย/ผู้ดูแล/ผู้ประสานงาน
- นางสาวสุวิชา ชัยวรรณธรรม นักเอกสารสนเทศ
การให้บริการ
- 3.1 ออกแบบและผลิตสื่อสารสนเทศ อาทิ คอร์สเรียนออนไลน์, สื่อการเรียนการสอน, อินโฟกราฟิก, สไลด์นำเสนอ (PTT) งานออกแบบและผลิตสื่อสารสนเทศ
- ดำเนินการออกแบบและจัดทำสื่อสารสนเทศ โดยการรวบรวมข้อมูล/จัดเตรียมเนื้อหา (Content)
เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการใช้งานและกลุ่มเป้าหมายของผู้รับสารหรือผู้ใช้งาน
ร่วมกับดำเนินการในการกําหนดเนื้อหาพร้อมทั้งการจัดเตรียมข้อมูลทั้งที่เป็นเนื้อหา ภาพ เสียง
วิดีโอ และสื่อประเภทต่างๆ
ในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่ต้องการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่สารสนเทศหรือตามที่ได้รับมอบหมายการดำเนินงานตามภารกิจขององค์กร
โดยแบ่งออกเป็น
- ดำเนินการออกแบบเพื่อการจัดทำผลิตสื่อสารสนเทศ โดยแบ่งตามรูปแบบประเภทของสื่อดังนี้
- ประเภทสื่อสังคมออนไลน์ ได้แก่ แฟนเพจ เว็บไซต์ TikTok
- ประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ จดหมายข่าว รายงานประจำปี เอกสารอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
- ประเภทสื่อรูปแบบอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย อาทิ สื่อคลิปวิดีโอ, คอร์สเรียนออนไลน์, สื่อประกอบการเรียนการสอน, อินโฟกราฟิก, สไลด์นำเสนอ (PTT), E-Book, สื่อแพตฟอร์มสำเร็จรูป, ป้ายแบนเนอร์และป้ายไวนิล ฯลฯ
- ดำเนินการออกแบบเพื่อการจัดทำผลิตสื่อสารสนเทศ โดยแบ่งตามรูปแบบของสื่อ
หรือช่องทางการสื่อสาร ดังนี้
- สื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ลงใน Fanpage facebook
- สื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ลงในเว็บไซต์ http://arit.uru.ac.th
- สื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ลงในเว็บไซต์ http://opac.uru.ac.th
- สื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ลงใน TikTok
- ดำเนินการออกแบบเพื่อการจัดทำผลิตสื่อสารสนเทศ โดยแบ่งตามรูปแบบประเภทของสื่อดังนี้
- 3.2 รวบรวมและจัดให้บริการข้อมูลสื่อสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการศึกษา อาทิ หนังสือ, ตำรา, คู่มือ, เอกสารประกอบการสอน, รายงานการวิจัย, บทความทางวิชาการ, สื่ออิเล็กทรอนิกส์, สื่อออนไลน์ ฯลฯ งานบริการข้อมูลสื่อสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการศึกษา ดำเนินการรวบรวมข้อมูลสื่อสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการศึกษาและพัฒนาทักษะดิจิทัล ได้แก่ หนังสือ, ตำรา, คู่มือ, เอกสารประกอบการสอน, รายงานการวิจัย, บทความทางวิชาการ, ฐานข้อมูล, สื่ออิเล็กทรอนิกส์, สื่อออนไลน์ ฯลฯ ให้กับผู้รับบริการ งานบริการข้อมูลสื่อสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการศึกษา
- 3.3 การออกแบบและจัดทำนิทรรศการทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์
ดำเนินการงานจัดเตรียมข้อมูลเนื้อหาและออกแบบการจัดนิทรรศการร่วมกับดำเนินการติดต่อประสานงานและการจัดการงานตามโครงการหรือกิจกรรมตามวาระที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงานและมหาวิทยาลัย
โดยมีขั้นตอนในการดำเนินงานตามลำดับดังนี้
ดำเนินการงานจัดเตรียมข้อมูลเนื้อหาและออกแบบการจัดนิทรรศการร่วมกับดำเนินการติดต่อประสานงานและการจัดการงานตามโครงการหรือกิจกรรมตามวาระที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงานและมหาวิทยาลัย โดยมีขั้นตอนในการดำเนินงานตามลำดับดังนี้
- ดำเนินการเข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการดำเนินงานจัดทำนิทรรศการหรือดำเนินการติดต่อประสานงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการถ่ายทอดแผนงานให้กับคณะบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในการช่วยติดตั้งนิทรรศการได้ร่วมกันรับทราบถึงแนวคิด (Concept) รูปแบบ ระยะเวลาของการจัดแสดงและสถานที่ ในการจัดแสดงและเพื่อควบคุมติดตามงานการจัดเตรียมความพร้อมในการจัดแสดงนิทรรศการ
- รวบรวมข้อมูล/จัดเตรียมเนื้อหา ภาพ เสียง วิดีโอ สื่อวัสดุประกอบประเภทต่างๆ ร่วมกับการออกแบบและปรับปรุงแก้ไขพร้อมด้วยติดตามงานการจัดทำสื่องานนิทรรศการและดำเนินการออกแบบผังการจัดแสดงนิทรรศการตามโครงการหรือกิจกรรมตามวาระที่ได้รับมอบหมายเพื่อให้เป็นไปตามแนวคิด (Concept) และวัตถุประสงค์ของการจัดแสดงงานนิทรรศการ
- ดำเนินการติดต่อประสานงานการจัดการผลิตสื่องานนิทรรศการพร้อมการจัดเตรียมติดตั้งนิทรรศการเพื่อให้เป็นไปตามแนวคิด (Concept) รูปแบบ ระยะเวลาของการจัดแสดงและสถานที่ในการจัดแสดงที่ได้ ชี้แจงการวางแผนงานและมีการควบคุมตรวจสอบเตรียมการความพร้อมไว้แล้ว
- ดำเนินการควบคุมตรวจสอบการติดตั้งนิทรรศการให้เป็นไปตามแผนผังการจัดแสดงนิทรรศการตามโครงการหรือกิจกรรมที่ได้มีการวางแผนงานและเตรียมการความพร้อมไว้แล้ว ร่วมกับคณะบุคลากรผู้ปฏิบัติงานของหน่วยงานและมหาวิทยาลัย/ผู้ผลิตสื่องานนิทรรศการ เพื่อให้สามารถดําเนินการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานให้แก่ผู้ร่วมปฏิบัติงาน
- 3.4 บริการจัดทำ Banner ประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆ
ออกแบบและผลิตสื่อสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการศึกษาและพัฒนาทักษะดิจิทัล ได้แก่
สื่อภาพกราฟิกและภาพถ่ายตกแต่ง, สื่อคลิปวิดีโอ, คอร์สเรียนออนไลน์, สื่อประกอบการเรียนการสอน,
อินโฟกราฟิก, สไลด์นำเสนอ (PTT), E-Book, สื่อแพตฟอร์มสำเร็จรูป, ป้ายแบนเนอร์และป้ายไวนิล ฯลฯ
ให้กับหน่วยงาน/คณะ และมหาวิทยาลัย
ออกแบบและผลิตสื่อสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการศึกษาและพัฒนาทักษะดิจิทัล ได้แก่ สื่อภาพกราฟิกและภาพถ่ายตกแต่ง, สื่อคลิปวิดีโอ, คอร์สเรียนออนไลน์, สื่อประกอบการเรียนการสอน, อินโฟกราฟิก, สไลด์นำเสนอ (PTT), E-Book, สื่อแพตฟอร์มสำเร็จรูป, ป้ายแบนเนอร์และป้ายไวนิล ฯลฯ ให้กับหน่วยงาน/คณะ และมหาวิทยาลัย
- 3.5 ให้คำปรึกษาการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนแก่อาจารย์ นักศึกษา และบุคลากร
งานออกแบบและผลิตสื่อสารสนเทศ
ดำเนินการรวบรวมข้อมูลสื่อสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการศึกษาและพัฒนาทักษะดิจิทัล ได้แก่ หนังสือ, ตำรา, คู่มือ, เอกสารประกอบการสอน, รายงานการวิจัย, บทความทางวิชาการ, ฐานข้อมูล, สื่ออิเล็กทรอนิกส์, สื่อออนไลน์ ฯลฯ ให้กับผู้รับบริการ
หน่วยบริการสื่อมัลติมีเดียและโสตทัศนูปกรณ์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ชาญฉลาด (Smart Learning Space) มีความพร้อมในด้านการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศที่ทันสมัยได้มาตรฐานโดยสอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และพันธกิจของมหาวิทยาลัยและตรงตามความต้องการของผู้ใช้บริการสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ในรูปแบบพลิกโฉมสำหรับวิถีใหม่ในยุคดิจิทัล
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของมหาวิทยาลัยสู่การเป็น มหาวิทยาลัยดิจิทัลชั้นนำในภูมิภาค (Digital University)
บุคลากรประจำหน่วย/ผู้ดูแล/ผู้ประสานงาน
- นายทศพร ดีเทศน์ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
- นายนพปฏล สอนอินทร์ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
- นายอำนาจ ฟักงาม ผู้ปฏิบัติงานโสตทัศนศึกษา
การให้บริการ
- งานบริการสื่อมัลติมีเดีย
- การบันทึกภาพนิ่ง
- วางแผนจัดระบบและจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการถ่ายภาพให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ
- ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องในการดำเนินการจัดกิจกรรมต่าง ๆ และขอทราบความต้องการวัตถุประสงค์ในการบันทึกภาพกิจกรรม
- การผลิตสื่อโสตทัศน์ เช่น VCD, DVD, CD Audio Computer, Presentation เช่น PowerPoint
- ประสานงานเพื่อขอทราบวัตถุประสงค์ของการผลิตสื่อ
- ดำเนินการจัดทำสื่อ โดยจัดเตรียมเนื้อหา วัสดุอุปกรณ์และดำเนินการจัดทำ
- ทดลองใช้สื่อเพื่อความเหมาะสม ปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่อง
- นำไปใช้จริงและประเมินผลสื่อ เพื่อพัฒนาในครั้งต่อไป
- การถ่ายทอดสดทั้ง Online Live Stream และ On-Air TV รวมถึง Live Stream Production Facebook Live , Youtube Live หรือ Streaming Media อื่น ๆ
- ตัดต่อรายการ และการผลิตสื่อการเรียนการสอน ฯลฯ
- งานผลิตกราฟิก
- การบันทึกภาพนิ่ง
- งานโสตทัศนูปกรณ์
- ควบคุมและดูแลโสตทัศนูปกรณ์ และตรวจสอบและบำรุงรักษาวัสดุและอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ
ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน รวมถึงดูแลระบบแสงสว่าง ระบบปรับอากาศ จอรับภาพต่าง ๆ
ภายในห้องประชุม อาคารเรียนต่าง ๆ ดังนี้
- ควบคุมและดูแลการใช้งานโสตทัศนูปกรณ์ห้องประชุมพิชัยสงคราม ชั้น 4 อาคาร ICIT
- ควบคุมและดูแลการใช้งานโสตทัศนูปกรณ์ห้องประชุมพิชัยนที ชั้น 4 อาคาร ICIT
- ควบคุมและดูแลการใช้งานโสตทัศนูปกรณ์ห้องประชุมบรรณลิขิต ชั้น 6 อาคาร บรรณราชนครินทร์
- ควบคุมและดูแลการใช้งานโสตทัศนูปกรณ์ห้องประชุม Common room ชั้น 1 อาคารบรรณราชนครินทร์
- ควบคุมและดูแลการใช้งานโสตทัศนูปกรณ์ห้องประชุมมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ลำรางทุ่งกะโล่
- การให้บริการระบบเคเบิลทีวีของมหาวิทยาลัย
- ดูแลและให้บริการการส่งสัญญาณของระบบโทรทัศน์รวม (SMATV) ของมหาวิทยาลัย
- ตรวจสอบระบบโทรทัศน์รวม (SMATV) ของมหาวิทยาลัย
- ซ่อมบำรุงระบบและอุปกรณ์ระบบโทรทัศน์รวม (SMATV) ของมหาวิทยาลัย
- ระบบกล้องวงจรปิด (CCTV) ของมหาวิทยาลัย ดูแลระบบกล้องวงจรปิดพร้อมอุปกรณ์ให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ จัดทำแผนบำรุงรักษา ซ่อมแซม ประกอบด้วย ระบบกล้องวงจรปิดของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบกล้องวงจรปิดพื้นที่ของมหาวิทยาลัย
- งานบริการตรวจสอบ ดูแลรักษา และซ่อมบำรุง สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ในห้องเรียนของมหาวิทยาลัย
- ควบคุมและดูแลโสตทัศนูปกรณ์ และตรวจสอบและบำรุงรักษาวัสดุและอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ
ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน รวมถึงดูแลระบบแสงสว่าง ระบบปรับอากาศ จอรับภาพต่าง ๆ
ภายในห้องประชุม อาคารเรียนต่าง ๆ ดังนี้
ผู้รับบริการทำหนังสือราชการภายใน (บันทึกข้อความ) โดยให้ระบุรายละเอียดการจัดกิจกรรม เพื่อให้ทราบข้อมูลสำหรับจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์และเจ้าหน้าที่เพื่ออำนวยความสะดวก พร้อมทั้งให้ระบุข้อมูล ผู้ประสานงานในหน่วยงานนั้น ๆ มาด้วย เพื่อให้บุคลากรงานส่งเสริมนวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนรู้ ได้ติดต่อประสานงานโดยตรง
1. ผู้รับบริการติดต่อขอจองห้องประชุมที่งานบริหารงานทั่วไป สำนักวิทยบริการฯ
2. ทำหนังสือราชการภายใน (บันทึกข้อความ) โดยให้ระบุรายละเอียดการจัดกิจกรรม เพื่อให้ทราบข้อมูลสำหรับจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์และเจ้าหน้าที่เพื่ออำนวยความสะดวก พร้อมทั้งให้ระบุข้อมูลผู้ประสานงานในหน่วยงานนั้น ๆ มาด้วย เพื่อให้บุคลากรงานส่งเสริมนวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนรู้ ได้ติดต่อประสานงานโดยตรง